• การเก็บ รักษา ผัก ผลไม้

    การเก็บรักษา ผัก ผลไม้ ลองกอง การเก็บผลไม้ ผลไม้อินทรีย์

    ดัชนีการเก็บเกี่ยว อายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมของลองกองคือ 12-13 สัปดาห์ หลังดอกบานผลมีสีผิวเหลืองสม่ำเสมอโดยไม่มีสีเขียวปน ผลที่ปลายช่อเริ่มนิ่มลงเล็กน้อย ควรเก็บเกี่ยวผลลองกองในช่วงเช้า หากผลหรือช่อเปียกน้ำต้องผึ่งให้แห้งก่อน ทั้งนี้เพื่อป้องกันการเกิดเชื้อรา การเน่าเสีย และการหลุดร่วงของผล อุณหภูมิและบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการเก็บรักษา อุณหภูมิ*(องศาเซลเซียส) ระยะเวลาเก็บรักษา(วัน) หมายเหตุ < 10 – เกิดอาการสะท้านหนาว โดยผิวจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ในอาการรุนแรง ผิวจะมีสีน้ำตาลเข้มกลิ่นผิดปกติและเน่าเสีย 15-18 18-28 25 3-4 * ความชื้นสัมพัทธ์ 80-85% บรรจุภัณฑ์สำหรับลองกอง ส่วนใหญ่จะใช้กล่องกระดาษลูกฟูก โดยเรียงช่อผลหนึ่งถึงสองชั้น ส่วนการบรรจุเพื่อขายปลีกสามารถบรรจุถาดแล้วหุ้มด้วยฟิล์มเพื่อรักษาคุณภาพ และลดการชอกช้ำเสียหายจากการจัดเรียง และการเลือกซื้อของผู้บริโภค

  • การเก็บ รักษา ผัก ผลไม้

    การเก็บรักษา ผัก ผลไม้ ทุเรียน การเก็บผลไม้ ผลไม้อินทรีย์

    ดัชนีการเก็บเกี่ยว การพิจารณาความแก่ของผลทุเรียนมีหลายวิธี เช่น นับอายุผล ตั้งแต่วันดอกบานจนถึงวันเก็บเกี่ยวประมาณ 120-135 วันสำหรับพันธุ์หมอนทอง ลักษณะก้านผล เมื่อผลทุเรียนเริ่มแก่ก้านผลจะแข็งและมีสีเข้มขึ้นเมื่อสัมผัสจะรู้สึกสากมือ บริเวณปากปลิงจะขยายใหญ่ขึ้น เห็นรอยต่อชัดเจนเมื่อจับก้านผลแล้วแกว่งผลทุเรียน จะรู้สึกว่าก้านผลมีสปริงมากขึ้น ลักษณะหนาม ปลายหนามเริ่มแห้ง มีสีน้ำตาลเข้ม ร่องหนามห่างเมื่อบีบหนามเข้าหากัน จะรู้สึกว่ามีสปริง ลักษณะรอยแยกบนพู ผลทุเรียนที่แก่จัดจะมีรอยแยกบนพูชัดเจนยกเว้นบางพันธุ์ที่มีลักษณะดังกล่าวไม่ชัดเจน เช่น พันธุ์ก้านยาว การเคาะผล ผลทุเรียนที่แก่เมื่อเคาะจะมีเสียงโปร่งๆ ส่วนเสียงจะหนักหรือเบาแตกต่างกันไปขึ้นกับพันธุ์ สีเนื้อ ทุเรียนที่แก่ได้ที่สีเนื้อจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีเหลืองอ่อน หรือเหลืองเข้ม ตามลักษณะประจำของแต่ละพันธุ์ น้ำหนักเนื้อแห้ง ทุเรียนที่แก่ได้ที่โดยเฉพาะพันธุ์หมอนทอง ซึ่งเป็นพันธุ์หลักในการส่งออก ควรมีเนื้อแห้งไม่น้อยกว่า 32% ส่วนพันธุ์อื่น เช่น ชะนีและกระดุมทอง ควรมีเนื้อแห้งไม่น้อยกว่า 30 และ 27% ตามลำดับ อุณหภูมิและบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการเก็บรักษา อุณหภูมิ*(องศาเซลเซียส) ระยะเวลาเก็บรักษา(วัน) หมายเหตุ 2-5 9 การเก็บรักษานานขึ้นผลทุเรียนจะเกิดอาการสะท้านหนาว โดยผิวเปลือกผลจะเป็นสีน้ำตาลบริเวณปลายหนาม แล้วแผ่ขยายจนทั่วผล เนื้อไม่สุก และมีอาการยุบตัว เมื่อนำมาเก็บรักษาต่อที่อุณหภูมิห้องทุเรียนจะแสดงอาการผิดปกติรุนแรงขึ้น คือ เปลือกจะปลิ ผิวเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลคล้ำและเน่าเสียง่าย 10 12 13-15 14 20 5-12 >30 2-9 * ความชื้นสัมพัทธ์ 85-90% ทุเรียนจะบรรจุในกล่องกระดาษลูกฟูก ขนาดบรรจุ 10-18 กิโลกรัมต่อกล่องโดยเรียงหนึ่งถึงสองชั้น

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ

    เกษตร smart farm thailand ผลไม้ ชมพู่ การเพิ่มประสิทธิภาพ ผลผลิต

    สภาพแวดล้อม ความเหมาะสม ข้อจำกัด 1.สภาพภูมิอากาศ สามารถเจริญเติบโตได้ทุกสภาพพื้นที่ – 2. สภาพพื้นที่ – สภาพความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 5.5 – 6.5 – 3.สภาพดิน – สภาพดินร่วนและดินร่วนเหนียว ความอุดมสมบูรณ์สูง ดีที่สุดต้องเป็นดินที่เกิดจากการทับถมของตะกอนลำน้ำใหม่ที่แม่น้ำลำคลองพัดมาทับถมทุกปี เป็นดินใหม่อายุน้อย มีอินทรียวัตถุสูง หน้าดินลึกไม่เกิน 30 เซนติเมตร – 4. สภาพน้ำ – ปริมาณน้ำฝนสม่ำเสมอ – แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและแหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ตัดแต่งช่อผลตั้งแต่เริ่มติดผล โดยไว้ผลประมาณ 3 – 4 ผลต่อช่อ เพื่อลดการใช้อาหารสะสมมากเกินไปทาาให้ผลมีขนาดเล็ก ตลาดไม่ต้องการ และการไว้ผลมากเกินใบอาจส่งผลต่อการออกดอกในครั้งต่อไปน้อยลง ควรทาาการห่อผลเพื่อป้องกันแมลงวันผลไม้เข้าเจาะทาาลายหากห่อช้ากว่าระยะดอกบานจะทาา ให้เกิดภาวะเสี่ยงจากแมลงวันผลไม้เข้าเจาะทาาลาย เพราะระยะดอกบาน – ผลแก่ เพียง 45 วันเท่านั้น ควรงดการให้น้ำช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว 3 – 5 วัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพดินถ้าดินเหนียวควรงดการให้น้ำนานกว่านี้อาจเป็น 5 – 7 วัน การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลชมพู่หลังการเก็บเกี่ยวหลังจากชมพู่อายุพร้อมที่จะเก็บเกี่ยว คือ มีอายุวัน ผลเต่งอวบ สีซีด ในบางพันธุ์มีสีขาว บางพันธุ์มีสีแดงหรือชมพู ผิวเป็นมันเงา มีความหวานสูง ควรทาาการเก็บ หากทิ้งไว้เกินอายุการเก็บเกี่ยวจะทำให้ผลชมพู่แตกหรือร่วงเสียหายได้ แหล่งสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมกรมส่งเสริมการเกษตร.2547.คู่มือพืชเศรษฐกิจ.กรุงเทพฯสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.2555. 52 สัปดาห์รู้แล้วรวย.กรุงเทพฯ

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ

    เกษตร smart farm thailand ผลไม้ ชมพู่ ขั้นตอน การปลูก การดูแล รักษา

    เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาชมพู การเตรียมการก่อนปลูกการเตรียมดินแบบยกร่อง ยกร่องกว้างประมาณ 3 เมตร ร่องนำ กว้าง 1 – 1.50 เมตร มีแนวชายร่องข้างละ 0.50 เซนติเมตร ควรตากดินไว้ 1 เดือน แล้วจึงพลิกหน้าดินซึ่งเป็นดินล่างลงไปอยู่ด้านล่าง และดินบน ซึ่งถูกทับอยู่กลับมาอยู่ด้านบนตามเดิม ช่วงพลิกดินสามารถทำการปรับสภาพดินโดยใส่ปูนขาวและใส่ปุ๋ยคอกลงไปในดินได้เลย ระยะปลูกห่างกันต้นละ 4 เมตรแบบไม่ยกร่อง ควรไถพรวนพร้อมทำการปรับสภาพดินและใส่ปุ๋ยคอก ระยะปลูก4 x 4 เมตร หรือ 6 x 6 เมตร แล้วแต่สภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วย ถ้าดินอุดมสมบูรณ์ควรปลูกระยะ 6 x 6 เมตร การเตรียมพันธุ์ใช้ต้นพันธุ์ชมพู่ที่ได้จาการตอนกิ่ง หรือปักชำ สามารถให้ผลผลิตได้ตลอดปี พันธุ์ที่นิยมได้แก่ ทับทิมจันทร์ เพชรสุวรรณ เพชรสายรุ้ง เพชรสามพราน เพชรชมพูพล เป็นต้น การปลูก2.1 ใช้ต้นพันธุ์ชมพู่ที่ได้จากการตอนกิ่ง หรือปักชำ2.2 ควรปลูกในช่วงต้นฤดูฝน2.3 ควรขุดหลุมปลูกให้มีขนาดกว้างและลึกประมาณ 50 x 50 x 50 เซนติเมตร2.4 ผสมดินปุ๋ยคอก จำนวน 5 กิโลกรัม และปุ๋ยร็อคฟอสเฟต จำนวน 500 กรัม เข้าด้วยกันในหลุมให้สูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุม2.5 ยกถุงกล้าต้นไม้วางในหลุมโดยระดับของดินในถุงสูงกว่าระดับดินปากหลุมเล็กน้อย2.6 ใช้มีดที่คมกรีดถุงจากก้นถุงขึ้นมาถึงปากถุงทั้ง 2 ด้าน (ซ้ายและขวา)2.7 ดึงถุงพลาสติกออก โดยระวังอย่าให้ดินแตก2.8 กลบดินที่เหลือลงในหลุม2.9 กดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น2.10 ปักไม้หลักและผูกเชือกยึด เพื่อป้องกันลมโยก2.11 หาวัสดุคลุมดินบริเวณโคนต้น เช่น ฟางข้าว หญ้าแห้ง2.12 รดน้ำให้ชุ่ม2.13 ทำร่มเงา เพื่อช่วยพรางแสงแดดด้วยทางมะพร้าวหรือตาข่ายพรางแสง การดูแลรักษา3.1 การใส่ปุ๋ย ปริมาณการใช้ปุ๋ย ครั้งละประมาณ1 – 2 กิโลกรัมต่อต้น สำหรับต้นชมพู่อายุ 8 ปี และเพิ่มปริมาณมากขึ้นตามอายุและทรงพุ่ม– บำรุงต้น ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 หรือ 15-15-15– สร้างตาดอก ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ

    เกษตร smart farm thailand ผลไม้ ชมพู่ ปฎิทิน ขั้นตอน การปลูก การดูแล รักษา

    การเตรียมดิน แบบยกร่อง ยกร่องกว้างประมาณ 3 เมตร ร่องน้ำกว้าง1 – 1.50 เมตร มีแนวชายร่องข้างละ 0.50 เซนติเมตรควรตากดินไว้ 1 เดือน แล้วจึงพลิกหน้าดินซึ่งเป็นดินล่างลงไปอยู่ด้านล่างและดินบนซึ่งถูกทับอยู่กลับมาอยู่ด้านบนตามเดิม ช่วงพลิกดินสามารถทำการปรับสภาพดินโดยใส่ปูนขาวและใส่ปุ๋ยคอกลงไปในดินได้เลยระยะปลูกห่างกันต้นละ 4 เมตรแบบไม่ยกร่อง ควรไถพรวนพร้อมทำการปรับสภาพดินและใส่ปุ๋ยคอก ระยะปลูก 4 x 4 เมตร หรือ 6 x 6 เมตร การเตรียมพันธุ์ ใช้ต้นพันธุ์ชมพู่ที่ได้จากการตอนกิ่ง หรือปักชำ สามารถให้ผลผลิตได้ตลอดปี พันธุ์ที่นิยม ได้แก่ ทูลเกล้า ทับทิมจันทร์ เพชรชมพูพล เพชรสายรุ้ง เพชรสามพรานเพชรสุวรรณ เป็นต้น การปลูก ควรปลูกในช่วงต้นฤดูฝน ขุดหลุมปลูกให้มีขนาดกว้างและลึกประมาณ 50 x 50 x 50 เซนติเมตร ผสมดินปุ๋ยคอก จำนวน 5 กิโลกรัม และปุ๋ยร็อคฟอสเฟต จำนวน 500 กรัม เข้าด้วยกันในหลุมให้สูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุม กลบดินที่เหลือลงในหลุม กดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น ปักไม้หลักและผูกเชือกยึด เพื่อป้องกันลมโยกหาวัสดุคลุมดินบริเวณโคนต้น เช่นฟางข้าว หญ้าแห้งรดน้ำให้ชุ่ม และทำร่มเงา เพื่อช่วยพรางแสงแดด การเตรียมต้น เดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ การตัดแต่งกิ่งจะนิยมทำการตัดให้สูงจากพื้นดินประมาณ 2 เมตร เพื่อง่ายต่อการเก็บการจัดทรงพุ่ม (ตัดแต่งกิ่งหลังจากการเก็บผลผลิตแล้ว) การดูแลระยะดอก-ผลแก่ เมษายน-พฤษภาคม การห่อผลเมื่อดอกบานแล้ว 5 – 7 วัน ให้ทำการตัดแต่งผลให้เหลือ 3 – 5 ผลต่อช่อ และทำการพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราก่อนห่อผลประมาณ 2 วัน ใช้ถุงพลาสติกหูหิ้ว ขนาด 6 x 11 นิ้ว หรือ 6 x 14 นิ้ว เจาะรูขนาดเล็กข้างถุงประมาณ 8 รูหลังจากห่อแล้ว 25 –…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ

    เกษตร smart farm thailand ผลไม้ ทุเรียน ขั้นตอน การปลูก การดูแล รักษา

    การเตรียมดิน ที่ลุ่ม ขุดร่องยกแปลงขึ้นมาเพื่อการระบายน้ำ ที่ดอน ไถพรวน และปรับพื้นที่ให้ การเตรียมพันธุ์ ลักษณะของขนุนพันธุ์ดีที่ควรเลือกไปปลูก มีดังนี้1) เจริญเติบโตดี มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี2) ให้ผลผลิตดี สามารถออกผลทะลายได้ง่าย ขนาดผลสม่ำเสมอและออกผลสม่ำเสมอทุกปีพันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ทองประเสริฐ, เหลืองบางเตย,ทองสุดใจ, ทะวายปีเดีย ศัตรูที่สำคัญและการป้องกันกำจัด โรคผลเน่า ระบาดได้ดีเมื่อทรงพุ่มไม่โปร่ง ไม่มีแสงแดดส่องทั่วถึง เข้าทำลายดอกและผลอ่อน โรคราสีชมพู ระบาดในฤดูฝน สปอร์ของเชื้อราระบาดไปกับลมและน้ำฝน ตรงง่ามของกิ่งหรือลำต้นด้วงเจาะลำต้น (ด้วงหนวดยาว) ระบาดตลอดเวลา หนอนตัวอ่อนจะเข้ากัดกินเนื้อไม้ใต้เปลือกและเจาะไชเข้าไปในลำต้นหรือกิ่ง เพื่อเข้าดักแด้ ขนุนจึงแสดงอาการใบเหี่ยว การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ระวังไม่ให้ผลเกิดแผล และนำลผลิตเข้ำที่ร่มกำจัดยำง คัดขนำดเพื่อรอจำหน่าย การปลูก ระยะปลูก 8 x 8 เมตร หรือ 10 x 10 เมตร การปลูกแบบยกร่องคือ 6 x 7.5 เมตรวิธีการปลูก ขุดหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร แล้วผสมดินด้วยปุ๋ยคอก จำนวน 5 กิโลกรัม และปุ๋ยร็อคฟอสเฟต จำนวน 500กิโลกรัม เข้าด้วยกันในหลุมสูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุมยกถุงต้นพันธุ์วางในหลุมโดยให้ระดับของดินในถุงสูงกว่าระดับดินปากหลุมเล็กน้อย กลบดินที่เหลือแล้วกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่นปักไม้หลักและผูกเชือกยึดกันลมพัดโยก หาวัสดุคลุมดินบริเวณโคนต้น เช่น ฟางข้าว หญ้าแห้ง การดูแลระยะติดดอก – ออกผลระยะออกดอก ช่วงพักต้นควรให้ปุ๋ยเสมอ 15-15-15, 16-16-16ให้ปุ๋ยสูตร 8-24-24 ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดโรคแมลงอย่างสม่ำเสมอ1 – 2 กิโลกรัมต่อต้นระยะติดผลจะเป็นช่วงที่ต้องการน้ำมากที่สุด ให้น้ำ ตามความเหมาะสมกับสภาพอากาศและฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดโรคแมลงอย่างสม่ำเสมอ การดูแลระยะผลอ่อน 1) ห่อผลขนุนเพื่อป้องกันการเข้าทำลายของหนอนเจาะผล2) หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีก่อนเก็บเกี่ยว เพื่อไม่ให้มีการตกค้างของสารเคมีในผลผลิตขนุน ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อผู้ การเก็บเกี่ยว ดัชนีการเก็บเกี่ยว เมื่อขนุนอายุ 120 วัน ขนุนมีผิวตึง หนามห่าง ปลายหนามแห้งโคนหนามแบนราบ ใบเลี้ยงที่อยู่เหนือขั้วเหลืองร่วง แล้วเคาะฟังเสียงหลวม (ปุ) แสดงว่าขนุนเริ่มแก่แล้ว1) ใช้มีดตัดที่ขั้วผล ระวังยาง2) วางลงบนใบตอง หรือกระสอบ3)…