smart farm เกษตรอัจฉริยะ

เกษตร smart farm thailand ผลไม้ ทุเรียน ขั้นตอน การปลูก การดูแล รักษา

การเตรียมดิน

  • ที่ลุ่ม ขุดร่องยกแปลงขึ้นมาเพื่อการระบายน้ำ
  • ที่ดอน ไถพรวน และปรับพื้นที่ให้

การเตรียมพันธุ์

ลักษณะของขนุนพันธุ์ดีที่ควรเลือกไปปลูก มีดังนี้
1) เจริญเติบโตดี มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมได้ดี
2) ให้ผลผลิตดี สามารถออกผลทะลายได้ง่าย ขนาดผลสม่ำเสมอและออกผลสม่ำเสมอทุกปีพันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ทองประเสริฐ, เหลืองบางเตย,ทองสุดใจ, ทะวายปีเดีย

ศัตรูที่สำคัญและการป้องกันกำจัด

โรคผลเน่า ระบาดได้ดีเมื่อทรงพุ่มไม่โปร่ง ไม่มีแสงแดดส่องทั่วถึง เข้าทำลายดอกและผลอ่อน โรคราสีชมพู ระบาดในฤดูฝน สปอร์ของเชื้อราระบาดไปกับลมและน้ำฝน ตรงง่ามของกิ่งหรือลำต้นด้วงเจาะลำต้น (ด้วงหนวดยาว) ระบาดตลอดเวลา หนอนตัวอ่อนจะเข้ากัดกินเนื้อไม้ใต้เปลือกและเจาะไชเข้าไปในลำต้นหรือกิ่ง เพื่อเข้าดักแด้ ขนุนจึงแสดงอาการใบเหี่ยว

การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

ระวังไม่ให้ผลเกิดแผล และนำลผลิตเข้ำที่ร่มกำจัดยำง คัดขนำดเพื่อรอจำหน่าย

การปลูก

ระยะปลูก 8 x 8 เมตร หรือ 10 x 10 เมตร การปลูกแบบยกร่องคือ 6 x 7.5 เมตร
วิธีการปลูก ขุดหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร แล้วผสมดินด้วยปุ๋ยคอก จำนวน 5 กิโลกรัม และปุ๋ยร็อคฟอสเฟต จำนวน 500กิโลกรัม เข้าด้วยกันในหลุมสูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุมยกถุงต้นพันธุ์วางในหลุมโดยให้ระดับของดินในถุงสูงกว่าระดับดินปากหลุมเล็กน้อย กลบดินที่เหลือแล้วกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่นปักไม้หลักและผูกเชือกยึดกันลมพัดโยก หาวัสดุคลุมดินบริเวณโคนต้น เช่น ฟางข้าว หญ้าแห้ง

การดูแลระยะติดดอก – ออกผลระยะออกดอก ช่วงพักต้นควรให้ปุ๋ยเสมอ 15-15-15, 16-16-16ให้ปุ๋ยสูตร 8-24-24 ฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดโรคแมลงอย่างสม่ำเสมอ1 – 2 กิโลกรัมต่อต้นระยะติดผลจะเป็นช่วงที่ต้องการน้ำมากที่สุด ให้น้ำ ตามความเหมาะสมกับสภาพอากาศและฉีดพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดโรคแมลงอย่างสม่ำเสมอ

การดูแลระยะผลอ่อน

1) ห่อผลขนุนเพื่อป้องกันการเข้าทำลายของหนอนเจาะผล
2) หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีก่อนเก็บเกี่ยว เพื่อไม่ให้มีการตกค้างของสารเคมีในผลผลิตขนุน ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อผู้

การเก็บเกี่ยว

ดัชนีการเก็บเกี่ยว เมื่อขนุนอายุ 120 วัน ขนุนมีผิวตึง หนามห่าง ปลายหนามแห้งโคนหนามแบนราบ ใบเลี้ยงที่อยู่เหนือขั้วเหลืองร่วง แล้วเคาะฟังเสียงหลวม (ปุ) แสดงว่าขนุนเริ่มแก่แล้ว
1) ใช้มีดตัดที่ขั้วผล ระวังยาง
2) วางลงบนใบตอง หรือกระสอบ
3) ระวังไม่ให้ผลเกิดแผล และนำผลผลิตเข้าที่ร่ม

แหล่งผลิตที่สำคัญ

จังหวัดชลบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ปราจีนบุรี สงขลา กาญจนบุรี เพชรบุรี และนครราชสีมา