• smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT แผงวงจร LED ไฟกระพริบเตือนห้ามสูบบุหรี่ LED 46 ดวง NO SMOKING FLASHER 46 LED ไฟกระพริบ ไฟแสดงผล ไฟเกมส์

    วงจรไฟกระพริบเดือนห้ามสูบบุหรี่ เป็นวงจรที่มีขนาดเล็ก สามารถนําไปติดในที่ต่างๆ หรือบริเวณที่ห้ามสูบบุหรี่ โดยวงจรจัดให้ LED มีลักษณะเหมือนป่ายเตือนห้ามสูบบุหรี่ ในส่วนของตัวบุหรี่ ที่ บริเวณปลายจะจัดให้ LED มีการกระพริบพร้อมกับมีควัน โดยใช้ LED วางในลักษณะของควัน ขอมูลทางด้านเทคนิค – ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 9-12 โวลทดีซี – กินกระแสสูงสุดประมาณ 80 มิลลิแอมป์ ที่ 9VDC – ใช้ LED ขนาด 5 มม. 38 ดวงและขนาด 3 มม. 8 ดวง – ขนาดแผ่นวงจรพิมพ: 3.54 x 3.50 นิ้ว การทํางานของวงจร จะมีการทํางานอยู่ 2 สวน คือสวนแรกจะเป็นกระพริบของกรอบ วงกลมและแนวคาดเฉียงกับส่วนที่สองจะเป็นการกระพริบของปลาย บุหรี่ โดย TRI และ TR2 ประกอบเป็นวงจรอะสเตเบิ้ลมัลติไวเบรเตอร์ โดยจะสลับกันทํางานระหว่าง TRI และ TR2 ถ้า TR2 ทํางาน จะทําให้ LED10-LED41 ติด และถ้า TRI ทํางาน LED10-LED41 จะดับ สวน LED42-LED46 จะติดค้าง ซึ่งเป็นส่วนของตัวบุหรี่สวนปลายของบุหรี่ และควันจะทํางานร่วมกับ TR3-TR5 โดยถ้า TR3 ทํางานจะทําให้ LED ติด เมื่อ TR3 หยุดทํางาน LED1 จะดับและ TR4 จะทํางาน ทํา ให้ LED2-LED9 ติดและสลับกันทํางานไปเรื่อยๆ การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์และการต่ออุปกรณ์ภายนอกแสดงไว้ในรูปที่ 2 ใน การประกอบวงจรควรจะเริ่มจากอุปกรณ์ที่มีความสูงที่นอยที่สุดก่อน เพื่อความสวยงามและการประกอบที่งายโดยให้เริ่มจากไดโอด ตามด้วย ตัวต้านทานและไล่ความสูงไปเรื่อยๆ สําหรับอุปกรณ์ที่มีขั้วต่างๆ เช่น ไดโอด, คาปาซิสเตอร์แบบอิเล็กทรอไลตและทรานซิสเตอร์ เป็นต้น ควรใช้ความระมัดระวังในการประกอบวงจร ก่อนการใส่อุปกรณ์เหล่า นี้จะต้องให้ขั้วที่แผ่นวงจรพิมพกับตัวอุปกรณให้ตรงกัน เพราะถ้าหาก…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT แผงวงจร LED ไฟเตือนอันตราย 42 LED FLASHER DANGER DIGN ไฟกระพริบ ไฟแสดงผล ไฟเกมส์

    วงจรไฟกระพริบเตือนระวังอันตรายชุดนี้ เป็นวงจรที่มีขนาดเล็ก สามารถนําไปติดในบริเวณที่จะเกิดอันตราย เพื่อเตือนให้ระวัง อันตรายในบริเวณนั้นๆ เพื่อเป็นการป้องกันเหตุที่ทําให้เกิดอันตราย ข้อมูลทางด้านเทคนิค – ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 9-12 โวลท์ดีซี – กินกระแสสูงสุดประมาณ 50 มิลลิแอมป์ ที่ 9VDC – ใช้ LED ขนาด 5 มม. 31 ควงและขนาด.3 มม. 11 ดวง – ขนาดแผ่นวงจรพิมพ: 3.5556 นิ้ว การทํางานของวงจร TRI, TR2 ตอเป็นวงจรกําเนิดความถี่แบบอะสแคเบื้อมัลติไวเบรเตอร์ โดย TRI,TR2 จะสลับกันทํางาน เมื่อ TRI ทํางาน จะทําให้ LED1-LED12 ติด แต่เมื่อ IR2 ทํางาน LEp1-LEp11 จะดับ สวน LED11-1F42 จะติดคาง การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์และการต่ออุปกรณ์ภายนอกแสดงไว้ในรูปที่ 2 ในการประกอบวงจรควรจะเริ่มจากอุปกรณ์ที่มีความสูงที่น้อยที่สุด ก่อน เพื่อความสวยงามและการประกอบที่งาย โดยให้เริ่มจากไดโอด ตามด้วยตัวต้านทานและไลความสูงไปเรื่อยๆ สําหรับอุปกรณ์ที่มีขั้ว ต่างๆ เช่น ไดโอด, คาปาซิสเตอร์แบบอิเล็กทรอไลตและทรานซิสเตอร์ เป็นต้น ควรใช้ความระมัดระวังในการประกอบวงจร ก่อนการใส่ อุปกรณ์เหล่านี้จะต้องให้ขั้วที่แผ่นวงจรพิมพกับตัวอุปกรณ์ให้ตรง กัน เพราะถ้าหากใสกลับขั้วแล้ว อาจจะทําให้อุปกรณหรือวงจรเสีย หายได้ วิธีการดูขั้วและการใช้อุปกรณ์นั้นได้แสดงไว้ในรูปที่ 3 แล้ว ใน การบัดกรีไม่ใช้หัวแรงขนาดไม่เกิน 40 วัตต์ และใช้ตะกั่วบัดกรีที่มี อัตราส่วนของดีบุกและตะกั่วอยู่ระหว่าง 60/40 รวมทั้งจะต้องมีน้ํายา ประสานอยู่ภายในตะกั่วด้วย หลังจากที่ได้ใส่อุปกรณ์และบัดกรีเรียบ ร้อยแล้ว ให้ทําการตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้เกิด ความมั่นใจแกตัวเราเอง แต่ถ้าเกิดใส่อุปกรณ์ผิดตําแหน่ง ควรใช้ที่ดูด ตะกั่วหรือลวดซับตะกั่ว เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดกับ ลายวงจรพิมพได้ สําหรับกรอบสามเหลี่ยมจะใช้ LED ขนาด 5 มม. ส่วนเครื่อง หมายตกใจ จะใช้ LED ขนาด 3 มม. และ 5…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT แผงวงจร LED ไฟสัญญาณ WARNING LIGHT FLASHER 20 LED ไฟกระพริบ ไฟแสดงผล ไฟเกมส์

    วงจรไฟกระพริบเตือนชุดนี้ เป็นวงจรไฟกระพริบชนิดหนึ่งที่ใช้เป็นสัญญาณเตือนตาม ที่ตางๆ ที่ต้องการหรือจะนําไปประดับ เพื่อความสวยงามก็ได้ ลักษณะในการกระพริบนั้น เรา สามารถที่จะปรับเวลาในการกระพริบในขณะติดและขณะดับได้โดยอิสระ นอกจากนั้นยัง สามารถเปลี่ยนลักษณะการกระพริบได้ 2 รูปแบบ ข้อมูลทางด้านเทคนิค – ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 110 โวลทเอซี หรือ 220 โวลทเอซี – มีเกือกมาไว้สําหรับปรับความเร็วในการกระพริบได้ – เลือกลักษณะการกระพริบได้ 2 รูปแบบ – ขนาดแผนวงจรพิมพ: 3.34 x 3.30 นิ้ว การทํางานของวงจร วงจรนี้จะมีวงจรหลักๆ อยู่ด้วยกัน 3 สวน คือ สวนจายไฟ, สวนควบคุมการกระพริบ และสวนขับตัว LED โดยเมื่อเราเริ่มจายไฟกระแสสลับขนาด 220 โวลท เขาวงจรที่จุด 220VAC ไฟกระแส สลับจะถูกเปลี่ยนเป็นไฟกระแสตรง โดยไดโอด D1-D5 เมื่อทําการเปลี่ยนเป็นไฟกระแสตรง เรียบร้อยแล้ว มันจะถูกแยกออกเป็น 2 ทาง โดยทางหนึ่งจะไปเขาสวนควบคุมการกระพริบ ไฟกระแสตรงนี้จะไหลมาจากไดโอด D5 ผ่าน R4 และ R5 จากนั้นจะถูกลดระดับแรงดันลง ให้เหลือประมาณ 12 โวลท์ โดยใช้ซีเนอร์ไดโอด ZD1 แล้วจึงจายให้สวนควบคุมการกระพริบ ต่อไป ส่วนไฟกระแสตรงอีกส่วนหนึ่งจะส่งออกมาทางวงจรบริดจไดโอด DI-D4 ไปเขาสวน ขับตัว LED ต่อไป การทํางานของส่วนควบคุมการกระพริบ จะเริ่มจากไอซี IC/1 จะถูกต่อในลักษณะ วงจรกําเนิดความถี่ โดยมี R9,C3,D6,D7,VR1 และ VR2 เป็นตัวกําหนดความถี่ที่ผลิตออกมา ซึ่งความถี่นี้สามารถปรับการทํางานในช่วงออนและออฟได้ โดย VRH จะเป็นตัวปรับในช่วง ออฟและ VR2 จะเป็นปรับในช่วงออน ความถี่ที่ได้จากไอซี IC/1 จะถูกส่งไปยังสวนขับตัว LED โดยมี IC/2, ICI/3, TRI และ TR2 โดย ICU2 และ IC/3 จะทํางานสลับกันตามความถี่ที่เข้ามา ทําให้…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    เทคโนโลยี เกษตร เครื่องคว้านเมล็ดลำไยแบบ 2 หัวคว้าน วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    การประดิษฐ์เครื่องคว้านเมล็ดลำไยแบบ2 หัวคว้าน เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้แปรรูปอาหารจากลำไย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเข้าช่วย หรือการใช้เครื่องจักรทดแทนแรงงานคนเพื่อช่วยลดปัญหาในการผลิต เช่น ลดเวลาการผลิต เพิ่มคุณภาพให้ได้ตามมาตรฐาน สะอาด และปลอดภัย ซึ่งการออกแบบและการสร้างเครื่องคว้านเมล็ดลำไยแบบ 2 หัวคว้าน สามารถนำไปใช้งานได้จริงและสามารถที่จะพัฒนาต่อยอดได้ต่อไปอีก รวมถึงยังช่วยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อันจะนำไปสู่เชิงพาณิชย์ได้ หลักการทำงานและจุดเด่น • มี 2 หัวคว้าน โดยการเจาะคว้านจะเคลื่อนที่เข้าเจาะคว้านพร้อมกันทั้ง 2 หัว และถอยออกมาพร้อมกับดึงเมล็ดของลำไยออกมาด้วย และเมล็ดของลำไยจะถูกดันเอาเมล็ดทิ้งออกไปในรางเพื่อแยกออกจากเนื้อและเปลือกลำไยโดยอัตโนมัติ ส่วนเนื้อและเปลือกลำไยจะติดไปกับเบ้าจับแล้วจะถูกเขี่ยออกด้วยระบบกลไกของเครื่อง ทำให้ส่วนเนื้อและเปลือกลำไยตกแยกออกไปที่รางรับอีกทาง• สามารถคว้านเมล็ดลำไยได้พร้อมกันครั้งละ 2 ผลคว้านเมล็ดลำไยได้เร็วถึง 30 กิโลกรัมต่อชั่วโมง หรือ 240 กิโลกรัมต่อ 8 ชั่วโมง เร็วกว่าแรงงานคนถึง 8 เท่า• เนื้อลำไยที่ได้จากการคว้านจะมีลักษณะกลมเนื้อไม่ฉีกขาด• มีชุดจานหมุนลำเลียงผลลำไยเจาะรูโดยรอบจำนวน16 รู เพื่อให้ผลลำไยเข้าไปได้รูละ 1 ผล การหมุนของจานจะสัมพันธ์กับจังหวะการหมุนของชุดป้อนหรือชุดเบ้าจับลำไย• มีชุดท่อส่งลำไยกลับไปยังถาด เพื่อป้องกันกรณีลำไยล้นรางหรือคนป้อนไม่ทันผลลำไยก็จะกลิ้งกลับลงมาที่เดิมประกอบกับชุดเบ้าจับผลลำไยสามารถปรับขนาดและขยาย (ผลเล็ก-ผลโต) ได้ตามรูปทรงของผลลำไย• ใช้แรงงานควบคุมเครื่องจำนวน 1 คน ราคาเริ่มต้นที่ 85,000 บาท/เครื่องรางวัลที่ 2 การประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำปีงบประมาณ 2553 เจ้าของสิ่งประดิษฐ์นายเกรียงไกร ธารพรศรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนาภาคพายัพเชียงใหม่ เลขที่ 128 หมู่ 1 ถนนห้วยแก้วตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    เทคโนโลยี เกษตร สว่านเจาะปาล์ม วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    เมื่อปาล์มมีอายุมากจะให้ผลน้อยลง ไม่คุ้มกับการลงทุนจำเป็นต้องโค่นทำลายเพื่อปลูกใหม่ การทำลาย (โค่น) ที่ทำกันในปัจจุบันใช้วิธีโค่นด้วยเลื่อยยนต์ ดันด้วยรถแทรกเตอร์ ข่มด้วยรถแบกโฮ วิธีเหล่านี้ทำได้ยาก ลงทุนมากและใช้เวลานาน การใช้ยาฆ่าก็เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน โดยทั่วไปคือขึ้นไปหยอดยาที่ยอด วิธีนี้ทำได้แต่ยากและเสี่ยงมาก ผู้ประดิษฐ์จึงคิดหาวิธีที่ทำได้ง่ายกว่าและไม่เสี่ยง โดยคิดเครื่องมือเจาะบริเวณโคนลำต้นของปาล์มและใช้ยาหยอดในรูที่เจาะเข้าไป ดังนั้น การประดิษฐ์ “สว่านเจาะปาล์ม”เพื่อหยอดยาฆ่าปาล์มจะทำให้ปาล์มตายยืน ตายเร็ว และตายเรียบโดยไม่ต้องขุดข่มถมปรนขนย้ายให้ลำบากอีกต่อไป หลักการทำงานและจุดเด่น • สามารถเจาะได้รวดเร็ว ใช้เวลาประมาณ 1 นาทีต่อปาล์ม 3 ต้น• มีเกียร์บังคับให้ดอกสว่านหมุนเร็ว ช้า หรือให้หยุดได้• มีคันเร่งพิเศษเพื่อเร่งหรือเบาเครื่องยนต์ให้มีกำลังตามที่ต้องการได้สามารถบังคับให้เจาะลึกหรือเอียงตามที่ต้องการได้ เพื่อประโยชน์ในการหยอดยาป้องกันยาไหลออกจากลำต้น• เครื่องมือนี้สามารถเคลื่อนย้ายไปยังจุดต่อไปได้ง่ายไม่ต้องใช้แรงมาก เพราะออกแบบให้วางบนรถเข็น• มีเพลา 2 เพลา คือ เพลากลวง และเพลาตัน เพลากลวงสามารถบังคับเพลาตันให้หมุนตามได้และขณะที่ดอกสว่านกำลังหมุนสามารถดึงเข้าและออกจากรูเจาะเพื่อคายขี้สว่านออกได้ง่าย จึงสามารถทำงานได้สะดวกขึ้น ราคาเริ่มต้น 10,000 บาท/เครื่องรางวัลที่ 1 การประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำปีงบประมาณ 2550 เจ้าของสิ่งประดิษฐ์นายฉกาจ ชัยภัทรกุล เลขที่ 35/4 หมู่ 4 ตำบลท่างิ้ว อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80280

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    เทคโนโลยี เกษตร ชุดเพิ่มประสิทธิภาพปั๊มออกซิเจนสำหรับระบบไฮโดรโพนิกส์ วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    เนื่องจากผู้ประดิษฐ์เป็นผู้ปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ โดยผักที่ปลูกส่วนมากเป็นผักสลัดพันธุ์ต่างประเทศ ซึ่งปลูกแล้วขายได้ราคาดี แต่ผักพวกนี้ต้องการอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ10-20องศาเซลเซียสในขณะที่อากาศบ้านเรามีอุณหภูมิอยู่ที่ 30 – 40 องศาเซลเซียส ทำให้ผักที่ปลูกโตช้าเป็นโรคง่ายและไม่ค่อยได้คุณภาพ ผู้ปลูกที่มีทุนมากแก้ปัญหาด้วยการสร้างโรงเรือนอีแว๊ปมาใช้ทำการปลูก ซึ่งมีต้นทุนสูงมากทั้งค่าโรงเรือนและค่าไฟฟ้าต่อเดือน เวลาหน้าหนาวก็ต้องเปิดให้ระบบทำงาน เพราะโรงเรือนเป็นโรงเรือนปิดด้วยพลาสติกใส อีกวิธีหนึ่งของผู้ปลูกที่มีทุนคือสร้างชิลเลอร์มาใช้ระบายความร้อนของสารละลายและธาตุอาหาร ในช่วงอากาศร้อนก็สามารถปลูกผักได้ดี แต่ราคาชิลเลอร์และค่าไฟฟ้าต่อเดือนก็ยังสูงอยู่มาก (ค่าชิลเลอร์ 50,000 -150,000ค่าไฟ10,000 -20,000บาท)เป้าหมายของโครงการ คือ สร้างเครื่องมือที่ช่วยระบายความร้อนให้สารละลายธาตุอาหารได้ดี และมีราคาถูกกว่าเครื่องมือที่กล่าวมาแล้ว ทั้งค่าเครื่องมือ ค่าไฟฟ้าและยังใช้งานได้หลายหน้าที่ หลักการทำงานและจุดเด่น • เป็นเครื่องมือที่ช่วยลดอุณหภูมิของสารละลายที่ใช้ปลูกผักได้ดี• เป็นเครื่องมือช่วยเพิ่มออกซิเจนให้กับสารละลายธาตุอาหาร ซึ่งจำเป็นสำหรับผักที่ปลูกด้วยระบบไฮโดรโพนิกส์• ประหยัดค่าไฟฟ้าได้ดีกว่าเครื่องมือที่มีจุดประสงค์เหมือนกัน เช่น ชิลเลอร์ โรงเรือนอีแว๊ป เป็นต้น• นำไปใช้ธุรกิจประมงได้• นำไปใช้กวนผสมปุ๋ย• อุปกรณ์ส่วนมากผลิตจากของเก่าหรือของรีไซเคิลได้ ราคาเริ่มต้นที่ 45,000 บาท/เครื่องรางวัลเชิดชูเกียรติ การประกวดสิ่งประดิษฐ์คิดค้นทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำปีงบประมาณ 2552 เจ้าของสิ่งประดิษฐ์นายอรรถพร สุบุญสันต์เลขที่ 77/7 หมู่ 3 ถนนสุพรรณบุรี-กรุงเทพฯ ต.สามเมืองอ.ลาดบัวหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา 13230