อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT บอร์ด แผงวงจร เกมส์ทดสอบพลังเสียง 10 LED วียูมิเตอร์และไฟกระพริบควบคุมด้วยเสียง

    วงจรเกมสทดสอบพลังเสียงชุดนี้ เป็นวงจรที่ใช้ในการวัดพลังเสียงเบื้อง ต้น ซึ่งไม่ต้องการความละเอียดมากนัก โดยวงจรนี้จะเหมาะที่จะใช้เป็นเกมส ทดสอบพลังเสียงว่าใครมีเสียงที่ดังกวากันหรือใช้ในงานวัดระดับเสียงที่ไม่ ตองการความละเอียดมากนัก ข้อมูลทางด้านเทคนิค – ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 9 โวลท์ดีซี – กินกระแสสูงสุดประมาณ 20 มิลลิแอมป (สแตนด์บาย), 50 มิลลิแอมป (ขณะทํางาน) – สามารถปรับความไวในการตรวจจับเสียงได้ – ขนาดแผ่นวงจรพิมพ์ : 2.29 x 1.11 นิ้ว การทํางานของวงจร วงจรจะแสดงในรูปที่ 1 การทํางานจะเริ่มจาก เมื่อไมโครโฟนได้รับเสียง เขามา สัญญาณเสียงดังกลาวจะถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า จากนั้นจะไปเข้า ที่ IC3/4 เพื่อทําการขยายสัญญาณให้แรงยิ่งขึ้น โดยมี VR1 เป็นตัวปรับอัตรา การขยายของสัญญาณ สัญญาณที่ออกมาจากขา 7 ของ IC3/4 จะสงออกไป ไบอัสให้กับ TRI ทํางาน เมื่อ TRI ทํางาน แรงดันจากขา C จะไปออกที่ขา E และไปเขาขาบวกของ IC/2 จนถึง IC3/3 เพื่อทําการเปรียบเทียบแรงดันกับ ขาลบของไอซีแต่ละตัวซึ่งได้รับแรงดันมาจาก IC/1 ซึ่งตอวงจรในลักษณะ ของวงจรบัฟเฟอร์ ถ้าแรงดันที่ขาบวกมากกวาขาลบ LED ที่ตออยูกับไอซีตัว นั้นก็จะติด ในกรณีที่แรงดันที่ขาบวกน้อยกว่าขาลบ LED ที่ตออยู่กับไอซีตัว นั้นก็จะดับ C5 และ R7 จะทําหน้าที่หน่วงเวลาในการดับของ LED สวนสวิตซ์ SW RESET จะทําหน้าที่รีเซ็ทให้ LED ทุกดวงดับ สําหรับ VR2 จะทําหน้าที่เป็นตัวปรับแรงดันเปรียบเทียบที่ป้อนเข้าสูขา ลบของ ICU2 จนถึง IC3/3 ใหมากหรือนอยตามความต้องการของเรา การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์และการต่ออุปกรณ์ภายนอกแสดงไว้ในรูปที่ 2 ในการ ประกอบวงจร ควรจะเริ่มจากอุปกรณ์ที่มีความสูงที่นอยที่สุดกอน เพื่อความ สวยงามและการประกอบที่งาย โดยให้เริ่มจากไดโอดตามด้วยตัวต้านทานและ ไล่ความสูงไปเรื่อยๆ สําหรับอุปกรณ์ที่มีขั้วต่างๆ เช่น ไดโอด, ตัวเก็บประจุชนิด อิเล็กทรอไลตและทรานซิสเตอร์…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT บอร์ด แผงวงจร เซียมซีอิเล็กทรอนิกส์ วียูมิเตอร์และไฟกระพริบควบคุมด้วยเสียง

    วงจรนี้เป็นวงจรสุมตัวเลข ที่ทํางานคล้ายกับการเสี่ยงเซียมซี โดยใช้การ กดปุ่มแทนการเขย่าและมีตัวเลข พร้อมเสียงดังที่ลําโพงบัซเซอร์อีกด้วย วงจรนี้จึงเหมาะที่จะนําไปใช้เป็นวงจรเสี่ยงเซียมซี แทนการเขย่าได้ ขอมูลทางดานเทคนิค – ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 3โวลทดีซี – ขณะทํางาน กินกระแสสูงสุดประมาณ 25 มิลลิแอมป – ขณะสแตนด์บาย กินกระแสประมาณ 6 มิลลิแอมป์ (หน้าจอติด) – ขณะสแตนด์บาย กินกระแสประมาณ 0.01 มิลลิแอมป (หน้าจอดับ) – สามารถเลือกจํานวนการสมได้ตั้งแต่ 1-99 – ขนาดแผนวงจรพิมพ : 1.87 13.42 นิ้ว การทํางานของวงจร แผงผังวงจรแสดงในรูปที่ 1 โดยหัวใจสําคัญของการทํางานในวงจรนี้ จะขึ้นอยู่กับตัว ICI ซึ่งเป็นไอซี ไมโครคอนโทรลเลอร์ เมื่อมีการกดสวิตซ์ SW: ค้างเอาไว้ ตัว ICI จะทําการสั่งให้หน้าจอดิสเพลยทําการสุ่มตัวเลขไป เรื่อยๆ พร้อมกับสร้างความถี่ขึ้นมาแล้ว สงออกไปทางขา 18 ไปเขาทรานซิสเตอร์ TR3 เพื่อทําการขยายสัญญาณให้ออกทางลําโพงบัซเซอร์ต่อไป แต่เมื่อทําการปล่อยสวิตซ์ SW1 ตัว ICI จะส่งคําสั่ง เพื่อให้หน้าจอแสดง ตัวเลขที่สมขึ้นมา การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์แสดงไว้ในรูปที่ 2 ในการประกอบวงจรควรจะเริ่มจาก อุปกรณ์ที่มีความสูงที่น้อยที่สุดก่อน เพื่อความสวยงามและการประกอบที่ ง่าย โดยให้เริ่มจากไดโอดตามด้วยตัวต้านทานและไล่ความสูงไปเรื่อยๆ สําหรับอุปกรณ์ที่มีขั้วต่างๆ ควรใช้ความระมัดระวังในการประกอบวงจร ก่อนการใส่อุปกรณ์เหล่านี้จะต้องให้ขั้วที่แผ่นวงจรพิมพ์กับตัวอุปกรณ์ให้ ตรงกัน เพราะถ้าหากใสกลับขั้วแล้ว อาจจะทําให้อุปกรณ์หรือวงจรเสียหาย ได้ วิธีการดูขั้วและการใส่อุปกรณ์นั้นได้แสดงไว้ในรูปที่ 3 ในการบัดกรี ให้ ใช้หัวแรงไม่เกิน 40 วัดด และใช้ตะกั่วบัดกรีที่มีอัตราส่วนของดีบุกและ ตะกั่วอยู่ระหว่าง 60/40 รวมทั้งจะต้องมีน้ํายาประสานอยู่ภายในตะกั่ว ด้วย หลังจากที่ได้ใส่อุปกรณ์และบัดกรีเรียบร้อยแล้ว ให้ทําการตรวจสอบความ ถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง แต่ถ้าเกิดใส่อุปกรณ์ผิดตําแหน่ง ควรใช้ที่ดูดตะกั่วหรือ ลวดซับตะกั่ว เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดกับลายวงจรพิมพ์ได้ การทดสอบและการใช้งาน เมื่อทําการประกอบวงจรเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ทําการจายไฟตรง ขนาด 3 โวลต์ เข้าที่วงจร จากนั้นทําการกดสวิตซ Swi ค้างเอาไว้ จะได้ยินเสียง…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT บอร์ด แผงวงจร เกมส์กดแข่งตอบปัญหา 6 สวิตซ์ วียูมิเตอร์และไฟกระพริบควบคุมด้วยเสียง

    วงจรเกมส์ชุดนี้ คือ วงจรอิเล็กทรอนิคส์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในการตัดสิน ปัญหาบางอย่าง เช่น รายการโทรทัศนที่มีการแข่งขันการตอบปัญหาใครกด สวิตซกอนดวงไฟของคนนั้นก็สวาง แสดงว่า คนนั้นจะไดตอบปัญหากอน และคนอื่นจะกดสวิตซ์อยางไรก็จะไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง เป็นต้น สําหรับ วงจรเกมสชุดนี้ วงจรนี้สามารถเล่นได้ 2-6 คน เท่านั้น ขอมูลทางดานเทคนิค – ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 9-12 โวลท์ดีซี – กินกระแสสูงสุดประมาณ 25 มิลลิแอมป์ – มี LED แสดงผล บอกให้ทราบว่าใครกดสวิตซ์กอน – ขนาดแผ่นวงจรพิมพ์ : 3.19 นิ้ว x 1.44 นิ้ว การทํางานของวงจร จากรูปที่ 1 เลื่อนสวิตซ SW7 ไปที่ ตําแหน่ง ON สวิตซ์ SWI-SW6 จะได้รับแรงดันจาก R1 หากมีการกดสวิตซ์ SW1 ก่อน จะทําให้กระแสไหลผ่านสวิตซ์ไป ทริกขา G ของ SCRI จึงทําให้ SCR1 ทํางาน ด้วยคุณสมบัติของ SCR เมื่อมีการทริกที่ขา G ตัว SCR จะทํางานคาง จึงทําให้ LED1 ที่ตออยู่ที่ขา A ของ SCRI ติดค้างเช่นกัน แรงดันที่ R1 จะถูกดึงลงกราวด์ โดยผ่าน D1 และ SCRI ทําให้แรงดันที่ R1 ไม่มี สวนสวิตซ์ SW2-SW6 ซึ่งถูกกดที่หลัง จะไม่มีแรงดันไปทริกที่ขา G ของ SCR จึงทําให้ SCR2-6 ไม่ทํางาน LED2-6 ก็จะไม่ทํางาน หากต้องการให้ SCR หยุดทํางาน จะต้องหยุดจ่ายไฟให้วงจรกอน โดยเลื่อนสวิตซ์ SW7 ไปทางตําแหน่ง OFF การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์แสดงไว้ในรูปที่ 2 ในการประกอบวงจร…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT บอร์ด แผงวงจร เกมส์หัวก้อย ระบบสั่นสะเทือน วียูมิเตอร์และไฟกระพริบควบคุมด้วยเสียง

    วงจรเกมสหัวก้อยชุดนี้ เป็นวงจรเครื่องเล่นชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้เลน กันในยามว่างได้เพลิดเพลินดีพอสมควร การเล่นก็ไม่ยาก เพียงแค่เขย่า วงจร LED ทั้ง 2 ดวง ก็จะติดสลับกันไปมาด้วยความเร็วสูง เมื่อหยุด เขย่า ก็จะติดช้าลงจนกระทั่งหยุดที่ดวงใคดวงหนึ่ง ซึ่งการเขย่าในแต่ ละครั้ง มันจะไม่หยุดที่ควงใดดวงหนึ่งเสมอไป จึงคล้ายกับการเล่น โยนหัวก้อย ข้อมูลทางด้านเทคนิค – ใช้แหล่งจ่ายไฟขนาด 9 โวลท์ดีซี – กินกระแสสูงสุดประมาณ 20 มิลลิแอมป์ – ขนาดแผ่นวงจรพิมพ : 1.88 นิ้ว x 1.42 นิ้ว การทํางานของวงจร จากรูปที่ 1 เมื่อทําการเขย่าวงจร สวิตซ์ภายในตัวเซ็นเซอร์จะ สัมผัสที่ขั้วสวิตซ์ภายใน ทําให้เมื่อเรากดสวิตซและปล่อยสวิตซ์ตลอด การเขย่า เป็นผลให้ตัวทรานซิสเตอร์ TRI ทํางานและหยุดทํางานตาม ไปด้วย ตัว LED3 และตัวทรานซิสเตอร์ TR2 ทํางานตามจังหวะของ TR1 ตัวทรานซิสเตอร์ TR3 และ TR4 จะต่อเป็นวงจรกําเนิดความถี่ ซึ่งจะควบคุมให้ LED ติดสลับกันด้วยความเร็วคงที่ เมื่อได้รับแรงดัน จาก TR2 และเมื่อไม่มีแรงดันจาก TR2 แรงดันที่ประจุที่ C2 จะค่อยๆ ลดต่ําลง จึงทําให้ความถี่ในการกระพริบช้าลงเรื่อยๆ เมื่อ C2 คายประจุ หมดลง จะทําให้ LED ติดคางที่ควงใดดวงหนึ่ง การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์แสดงไว้ในรูปที่ 2 ในการประกอบวงจร ควร จะเริ่มจากอุปกรณ์ที่มีความสูงที่น้อยที่สุดก่อน เพื่อความสวยงามและ การประกอบที่งาย โดยให้เริ่มจากไดโอดตามด้วยตัวต้านทานและไล ความสูงไปเรื่อยๆ สําหรับอุปกรณ์ที่มีขั้วต่างๆ ควรใช้ความระมัดระวัง ในการประกอบวงจร ก่อนการใส่อุปกรณ์เหล่านี้ จะต้องให้ขั้วที่แผ่น วงจรพิมพ์กับตัวอุปกรณให้ตรงกัน เพราะถ้าหากใสกลับขั้วแล้ว อาจ จะทําให้อุปกรณ์หรือวงจรเสียหายได้ วิธีการดูขั้วและการใส่อุปกรณ์ นั้นได้แสดงไว้ในรูปที่ 3 แล้ว ในการบัดกรี ให้ใช้หัวแรงขนาดไม่เกิน 40 วัตต์และใช้ตะกั่วบัดกรีที่มีอัตราส่วนของดีบุกและตะกั่วอยู่ระหว่าง 60/40 รวมทั้งจะต้องมีน้ํายาประสานอยู่ภายในตะกั่วด้วย หลังจากที่ได้…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT บอร์ด วียู LED 6 ดวง วียูมิเตอร์และไฟกระพริบควบคุมด้วยเสียง

    วงจรซุปเปอร์วียูชุดนี้ เป็นวียูแบบพิเศษเพราะออกแบบมาให้ สามารถใช้ต่อกับจุดลําโพงได้โดยตรง โดยไม่ต้องใช้ไฟเลี้ยง ดังนั้น วงจรนี้จึงเป็นวงจรที่ราคาประหยัด นอกจากมีราคาถูกแล้วยัง ประกอบง่ายและใช้ได้ทนทานอีกด้วย ขอมูลทางด้านเทคนิค – ไม่ใช้แหล่งจ่ายไฟ – มี LED แสดงผล 6 ดวง – สามารถใช้ได้กับเพาเวอร์แอมปขนาด 10-30 วัตต์ – ขนาดแผ่นวงจรพิมพ: 1.83 x 0.38 นิ้ว การทํางานของวงจร สัญญาณเสียงที่จุดต่อลําโพงจะต่อผ่าน C1 เพื่อเอาเฉพาะ สัญญาณเสียงผ่านเข้ามาเท่านั้น โดยมีไดโอด D1 เป็นตัวทําหน้า ที่ชวยดิสชาร์ทไฟที่ประจุเข้า Ci ถ้ามีสัญญาณเข้ามาแรงไฟที่ CI จะ คัปปลิ้งมาก็มีมากด้วย ทําให้ LED ติดมาก แต่ถ้าสัญญาณมาออน แรง ไฟที่ถูกคัปปลิ้งมาก็จะนอย ทําให้ LED ติดน้อยดวงตามลําดับ การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์และการต่ออุปกรณ์ภายนอกแสดงไว้ในรูปที่ 2 ในการประกอบวงจรควรจะเริ่มจากอุปกรณ์ที่มีความสูงที่น้อยที่สุด ก่อน เพื่อความสวยงามและการประกอบที่งาย โดยให้เริ่มจากไดโอด ตามด้วยตัวต้านทานและไล่ความสูงไปเรื่อยๆ สําหรับอุปกรณ์ที่มีขั้ว ต่างๆ เช่น ไดโอด, คาปาซิสเตอร์แบบอิเล็กทรอไลต์และทรานซิสเตอร์ เป็นต้น ควรใช้ความระมัดระวังในการประกอบวงจร ก่อนการ ใส่อุปกรณ์เหล่านี้จะต้องให้ขั้วที่แผ่นวงจรพิมพ์กับตัวอุปกรณ์ให้ตรง กัน เพราะถ้าหากใสกลับขั้วแล้ว อาจจะทําให้อุปกรณ์หรือวงจรเสีย หายได้ วิธีการดูขั้วและการใส่อุปกรณ์นั้นได้แสดงไว้ในรูปที่ 3 แล้วใน การบัดกรีให้ใช้หัวแรงขนาดไม่เกิน 40 วัตต และใช้ตะกั่วบัดกรีที่มี อัตราส่วนของดีบุกและตะกั่วอยู่ระหว่าง 60/40 รวมทั้งจะต้องมีน้ํายา ประสานอยู่ภายในตะกั่วด้วย หลังจากที่ได้ใสอุปกรณ์และบัดกรีเรียบ ร้อยแล้ว ให้ทําการตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้เกิด ความมั่นใจแก่ตัวเราเอง แต่ถ้าเกิดใส่อุปกรณผิดตําแหน่ง ควรใช้ที่ดูด ตะกั่วหรือลวดซับตะกั่ว เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดกับ ลายวงจรพิมพได้ การทดสอบ ทําการต่อวงจรที่จุด IN ขนานกับจุดต่อลําโพงของเพาเวอร์แอมป์ ที่มีขนาดตั้งแต่ 10-30 วัตต์ ทดลองเร่งลดสัญญาณเสียง สังเกตที่ LED จะเปลี่ยนตามสัญญาณเสียง ที่เราเร่งลดสัญญาณเสียง ถ้าได้ ตามนี้ แสดงว่า วงจรพร้อมที่จะใช้งานแล้ว ในการนําไปใช้งานจริง หากต้องการนําไปต่อกับเพาเวอร์แอมปแบบมีซ้าย-ขวา…

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    อุปกรณ์ I IoT บอร์ด แผงวงจร วงจรเวียนทิศทาง วียู LED 10 ดวง 2 ทิศทาง VU LED 10 lights 2 directions วียูมิเตอร์และไฟกระพริบควบคุมด้วยเสียง

    วงจรเวียนทิศทางเป็นวงจรรุ่นประหยัดอีกวงจรหนึ่งที่มีความสวย งามแตกต่างจากวงจรทั่วๆไปคือตัวLEDจะกระพริบติดสว่างแยกออก เป็น 2 ทางข้างละ 5 ดวงประการสําคัญหนึ่ง คือ วงจรนี้ออกแบบให้ไม่ ต้องใช้ไฟเลี้ยงวงจร จึงทําให้ใช้อุปกรณ์น้อยประกอบง่ายและใช้ได้ ทนทานกว่า วงจรนี้อาศัยการแบ่งสัญญาณจากลําโพงเล็กน้อยเท่านั้นจึง ไม่มีผลต่อความดังของเสียง ข้อมูลทางด้านเทคนิค -ไม่ใช้แหล่งจ่ายไฟ – มี LED แสดงผล 10 ดวง – สามารถใช้ได้กับเพาเวอร์แอมปขนาด 5-30 วัตต์ – ขนาดแผ่นวงจรพิมพ์ : 3.02 x 1.01 นิ้ว การทํางานของวงจร สัญญาณเสียงที่จุดต่อลําโพงจะตอขนานกับจุด IN บนวงจร สัญญาณนี้จะผ่าน C1 คัปปลิ้งสัญญาณเข้า LED โดยมีไดโอด เป็นตัว ดิสชาร์ทไฟให้ Ci ถ้าสัญญาณมีความแรงน้อย จะทําให้ LED ติดน้อย เช่น ความแรงสัญญาณมีขนาด 5 โวลท จะทําให้ LED ติดข้างละ 2 ดวง รวมเป็น 4 ดวงแต่ถ้าสัญญาณมาแรงจะทําให้ LED ติดหมดจะต้องมี ความแรงของสัญญาณประมาณ 10 โวลท ขึ้นไป การประกอบวงจร รูปการลงอุปกรณ์และการตออุปกรณ์ภายนอกแสดงไว้ในรูปที่ 2 ใน การประกอบวงจรควรจะเริ่มจากอุปกรณ์ที่มีความสูงที่น้อยที่สุดก่อน เพื่อความสวยงามและการประกอบที่งายโดยให้เริ่มจากไดโอดตามด้วย ตัวต้านทานและไล่ความสูงไปเรื่อยๆ สําหรับอุปกรณ์ที่มีขั้วต่างๆ เช่น ไดโอด, คาปาซิสเตอร์แบบอิเล็กทรอไลตและทรานซิสเตอร์ เป็นต้น ควร ใช้ความระมัดระวังในการประกอบวงจรก่อนการใส่อุปกรณ์เหล่านี้จะ ต้อง ให้ขั้วที่แผ่นวงจรพิมพกับตัวอุปกรณให้ตรงกัน เพราะถ้าหากใส่ กลับขั้วแล้ว อาจจะทําให้อุปกรณหรือวงจรเสียหายได้ วิธีการดูขั้วและ การใส่อุปกรณ์นั้นได้แสดงไว้ในรูปที่ 3 แล้ว ในการบัดกรีให้ใช้หัวแร้ง ขนาดไม่เกิน 40 วัตต์ และใช้ตะกั่วบัดกรีที่มีอัตราส่วนของดีบุกและ ตะกั่วอยู่ระหว่าง 60/40 รวมทั้งจะต้องมีน้ํายาประสานอยู่ภายในตะกั่ว ด้วย หลังจากที่ได้ใส่อุปกรณ์และบัดกรีเรียบร้อยแล้ว ให้ทําการตรวจสอบ ความถูกต้องอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้เกิดความมั่นใจแกตัวเราเอง แต่ถ้าเกิดใส อุปกรณผิดตําแหน่ง ควรใช้ที่ดูดตะกั่วหรือลวดซับตะกั่ว เพื่อป้องกัน ความเสียหายที่อาจจะเกิดกับลายวงจรพิมพได้ การทดสอบ ทําการต่อวงจรที่จุด IN…