• smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  เกษตรอินทรีย์ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

    เทคโนโลยี เกษตร การติดตามสภาพดิน (Soil Monitoring) วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    การติดตามสภาพดิน (Soil Monitoring) การใช้เซ็นเซอร์ตรวจสอบคุณสมบัติของดิน เพื่อปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการปลูกพืช รวมถึงสามารถนำมาใช้ในการตัดสินใจวางแผนการเพาะปลูกและการดูแลพืชได้ ผู้ประกอบการในสหภาพยุโรปที่ได้รับการสนับสนุนจากโครงการ EUfunded IoF2020 (Internet of Food and Farm 2020) มีการประยุกต์ใช้ IoT ในการกลุ่มการติดตามสภาพดินกับการปลูกมันฝรั่งซึ่งจากข้อมูลดินที่รวบรวมได้ทำให้เกษตรกรใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งช่วยลดสารกำจัดศัตรูพืชได้ถึง 15% และลดการใช้น้ำได้ถึง 25% ทาให้สามารถลดต้นทุนการผลิตทั้งหมดได้ถึงเกือบ 20%

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  เกษตรอินทรีย์ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

    เทคโนโลยี เกษตร ทำความรู้จักเทคโนโลยี IoT หัวใจสำคัญของ Agritech วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    เทคโนโลยี IoT1 ถือเป็นทางเลือกที่น่าสนใจที่เข้ามาช่วยปลดล็อกปัญหาและสร้างความท้าทายหลายประการให้กับธุรกิจเกษตรไทย รวมท้ังเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้กับธุรกิจซึ่งในบทความส่วน นี้ Krungthai COMPASS จะนำเสนอ สิ่งที่ผู้ประกอบการควรรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี IoTอาทิ เทคโนโลยี IoT สำหรับธุรกิจเกษตรมีอะไรบ้าง ทำไมธุรกิจเกษตรไทยต้องปรับตัวมาใช้ IoT และเราควรรู้จักใครบ้างตลอดจนถอดบทเรียนจากบริษัทประสบความสำเร็จ เพื่อให้สามารถใช้เทคโนโลยีดังกล่าวให้ประสบความสำเร็จได้ง่ายขึ้น “Agritech” คืออะไร? IoT เชื่อมโยงกับ “Agritech”อย่างไร? Agritech คือ การนำเทคโนโลยีทางการเกษตรมาใช้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน จากเดิมที่ใช้ “องค์ความรู้และประสบการณ์เดิม (Knowhow)” ในการจัดการผลิต และพึ่งพาการใช้ “แรงงาน” แต่เพียงอย่างเดียว มาเป็นการใช้ “เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความแม่นยาในการเพาะปลูก (Precision Farming)” ในการเพิ่มผลิตภาพให้กับธุรกิจเกษตรไทยซึ่งถือเป็นปัญหาเรื้อรังมายาวนาน (อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่Box 1:ธุรกิจข้าวไทยกับปัญหาการสูญเสียความสามารถในการแข่งขัน) รวมท้ังลดการพึ่งพาแรงงานซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสูง นอกจากนี้ หากพิจารณาจากระบบนิเวศของภาคการเกษตรตามข้ันตอนการผลิต(Stages of Production) ดังรูปที่ 1 จะเห็นได้ว่า Agritech สามารถสอดแทรกอยู่ในทุกข้ันตอนการผลิต ต้ังแต่ต้นน้ำหรอื ผู้ผลิตวัตถุดิบสาหรบั การเพาะปลูก (Input suppliers) ไปจนถึงปลายน้ำหรือผู้บริโภคได้โดยตรง (Consumers) ขณะเดียวกันพบว่าเทคโนโลยี IoT เข้าไปมีบทบาทในหลายกิจกรรมทางการเกษตร ตั้งแต่การเตรียมการเพาะปลูก ไปจนถึงการเพาะปลูก เช่น การติดตามสภาพดิน (Soil Monitoring)การควบคุมโรคและศัตรูพืช (Pest and Disease Control System) เป็นต้น ดังน้ันในบทความนี้จะให้ความสำคัญกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT ในกระบวนการผลิตที่กล่าวมาข้างต้นเป็นหลัก แล้ว IoT สำหรับธุรกิจเกษตรทำงานอย่างไร? IoT สาหรบั ธรุกิจเกษตรเริ่ม ต้นจากการใช้เทคโนโลยี “เซ็นเซอร์” ติดตามและตรวจสอบสถานะข้อมูลที่จำเป็นในการเพาะปลูกแบบเรียลไทม์ เพื่อช่วยผู้ประกอบการในการ ”ตัดสินใจและการบริหารจัดการการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ” เช่น ความเข้มของแสงอุณหภูมิ ความชื้นในดิน สภาพอากาศ เป็นต้น โดยข้อมูลดังกล่าวจะถูกเชื่อมโยงผ่านระบบอินเทอร์เน็ต และเก็บเข้าไปอยู่ในระบบคลาวด์ (Cloud)2 ก่อนนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์และประมวลผล แล้วส่งกลับไปยังผู้ใช้งาน ซึ่งเรามองว่า ในอนาคตเทคโนโลยีดังกล่าวจะเป็นจุดต้ังต้นสาคัญที่จะนามาใช้พัฒนาร่วมกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ที่จะทำหน้าที่คิดวิเคราะห์ วางแผนและตัดสินใจในกระบวนการเพาะปลูกแทนมนุษย์มากยิ่งข้ึน

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    เทคโนโลยี เกษตร รถพ่วงสำหรับขนถ่ายทะลายปาล์ม วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    รถพ่วงสำหรับขนถ่ายทะลายปาล์ม • ขนาดกระบะสำหรับบรรทุกกว้างxยาวxสูง- 2.4 m x 6 m x 2 m• น้ำหนักบรรทุก 20 ตัน• มีระบบไฮดรอลิก สำหรับแยกกระบะออกจากตัวรถพ่วง• มีมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายกำหนด ปาล์มน้ำมันยังช่วยแก้ปัญหาราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาดโลก ที่มีการปรับราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันเป็นปัจจัยหนึ่งที่ผลักดันให้ทุกประเทศค้นคว้าหาพลังงานทดแทนจากพืช (BIO DIESEL) เพื่อมาทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิง (ปิโตรเลียม) ซึ่งมีคุณสมบัติและคุณภาพเทียบเท่าน้ำมันเชื้อเพลิงทุกประการ นอกจากนี้ในอนาคต BIO DIESEL จะมีราคาถูกกว่าน้ำมันเชื้อเพลิง ปาล์มน้ำมันเป็น พืชเศรษฐกิจ ที่ให้ผลประโยชน์ตอบแทนและเกิดวัตถุพลอยได้มากมาย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้อีกมาก โดยสามารถแปรรูปได้ หลากหลายชนิด จึงมีการนำน้ำมันปาล์มไปใช้ทดแทนน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ ที่ใช้ทดแทนกันได้ ความต้องการใช้น้ำมันปาล์มจึงมีมากขึ้น ราคาน้ำมันปาล์มในตลาดโลกจึงมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งคาดว่าในปีต่อ ๆ ไปจะมีความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบในอัตราที่สูงขึ้นเป็นลำดับ จากแนวโน้มการขยายตัวของปาล์มน้ำมันทางคณะผู้วิจัย จึงร่วมมือวิจัยพัฒนาสร้างเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มขึ้น โดยมุ่งเน้นให้สามารถช่วยรักษาคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตให้มากขึ้น โดยให้ความสำคัญในการนำเครื่องจักรมาพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ปัจจุบันเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั่วไป ส่วนใหญ่สั่งนำเข้ามาจากต่างประเทศ มีการสึกหรอเร็วและยังต้องสั่งเพิ่มเข้ามาจากต่างประเทศอยู่เสมอ พัฒนา ภายใต้ โครงการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่าประจำปีงบประมาณ 2553 พัฒนาโดย : สมาคมเครื่องจักรกลไทยเลขที่ 86/6 อาคารสำนักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนซอยตรีมิตร ถนนพระรามที่ 4 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ร่วมกับ : บริษัท ไบโอเอ็นเนอร์ยีเทค จำกัดเลขที่ 9 อาคารวรสิน ชั้น 6 ซอย ยาสูบ 2 ถนนวิภาวดีรังสิตแขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ราคาขาย รถพ่วงสำหรับขนถ่ายทะลายปาล์มราคาเริ่มต้นที่ 1,700,000 บาท/เครื่อง

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    เทคโนโลยี เกษตร รถยนต์ลำเลียงทะลายปาล์มจากสวน วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    รถยนต์ลำเลียงทะลายปาล์มจากสวน • ขนาดตัวรถ กว้างxยาวxสูง – 3.30 m x 1.30 m x1.25 m• ขับเคลื่อน 4 ล้อ• ขนาดกระบะบรรทุก 1.58 m x 1.23 m x 1.24 m• รับน้ำหนักบรรทุก ได้ 600 กิโลกรัม• เป็นเครื่องยนต์ดีเซล ขนาด 11 แรงม้า ปาล์มน้ำมันยังช่วยแก้ปัญหาราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาดโลก ที่มีการปรับราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันเป็นปัจจัยหนึ่งที่ผลักดันให้ทุกประเทศค้นคว้าหาพลังงานทดแทนจากพืช (BIO DIESEL) เพื่อมาทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิง (ปิโตรเลียม) ซึ่งมีคุณสมบัติและคุณภาพเทียบเท่าน้ำมันเชื้อเพลิงทุกประการ นอกจากนี้ในอนาคต BIO DIESEL จะมีราคาถูกกว่าน้ำมันเชื้อเพลิง ปาล์มน้ำมันเป็น พืชเศรษฐกิจ ที่ให้ผลประโยชน์ตอบแทนและเกิดวัตถุพลอยได้มากมาย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้อีกมาก โดยสามารถแปรรูปได้ หลากหลายชนิด จึงมีการนำน้ำมันปาล์มไปใช้ทดแทนน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ ที่ใช้ทดแทนกันได้ ความต้องการใช้น้ำมันปาล์มจึงมีมากขึ้น ราคาน้ำมันปาล์มในตลาดโลกจึงมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งคาดว่าในปีต่อ ๆ ไปจะมีความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบในอัตราที่สูงขึ้นเป็นลำดับ จากแนวโน้มการขยายตัวของปาล์มน้ำมันทางคณะผู้วิจัย จึงร่วมมือวิจัยพัฒนาสร้างเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มขึ้น โดยมุ่งเน้นให้สามารถช่วยรักษาคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตให้มากขึ้น โดยให้ความสำคัญในการนำเครื่องจักรมาพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ปัจจุบันเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั่วไป ส่วนใหญ่สั่งนำเข้ามาจากต่างประเทศ มีการสึกหรอเร็วและยังต้องสั่งเพิ่มเข้ามาจากต่างประเทศอยู่เสมอ พัฒนา ภายใต้ โครงการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่าประจำปีงบประมาณ 2553 พัฒนาโดย : สมาคมเครื่องจักรกลไทยเลขที่ 86/6 อาคารสำนักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนซอยตรีมิตร ถนนพระรามที่ 4 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ร่วมกับ : บริษัท ไบโอเอ็นเนอร์ยีเทค จำกัดเลขที่ 9 อาคารวรสิน ชั้น 6 ซอย ยาสูบ 2 ถนนวิภาวดีรังสิตแขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ราคาขาย รถขนทะลายปาล์มราคาเริ่มต้นที่ 800,000 บาท/เครื่อง

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    เทคโนโลยี เกษตร เครื่องตัดทะลายปาล์มด้วยเครื่องติดรถ วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    รถยนต์ลำเลียงทะลายปาล์มจากสวน • ขนาดตัวรถ กว้างxยาวxสูง – 3.30 m x 1.30 m x1.25 m• ขับเคลื่อน 4 ล้อ• ขนาดกระบะบรรทุก 1.58 m x 1.23 m x 1.24 m• รับน้ำหนักบรรทุก ได้ 600 กิโลกรัม• เป็นเครื่องยนต์ดีเซล ขนาด 11 แรงม้า ปาล์มน้ำมันยังช่วยแก้ปัญหาราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาดโลก ที่มีการปรับราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันเป็นปัจจัยหนึ่งที่ผลักดันให้ทุกประเทศค้นคว้าหาพลังงานทดแทนจากพืช (BIO DIESEL) เพื่อมาทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิง (ปิโตรเลียม) ซึ่งมีคุณสมบัติและคุณภาพเทียบเท่าน้ำมันเชื้อเพลิงทุกประการ นอกจากนี้ในอนาคต BIO DIESEL จะมีราคาถูกกว่าน้ำมันเชื้อเพลิง ปาล์มน้ำมันเป็น พืชเศรษฐกิจ ที่ให้ผลประโยชน์ตอบแทนและเกิดวัตถุพลอยได้มากมาย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้อีกมาก โดยสามารถแปรรูปได้ หลากหลายชนิด จึงมีการนำน้ำมันปาล์มไปใช้ทดแทนน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ ที่ใช้ทดแทนกันได้ ความต้องการใช้น้ำมันปาล์มจึงมีมากขึ้น ราคาน้ำมันปาล์มในตลาดโลกจึงมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งคาดว่าในปีต่อ ๆ ไปจะมีความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบในอัตราที่สูงขึ้นเป็นลำดับ จากแนวโน้มการขยายตัวของปาล์มน้ำมันทางคณะผู้วิจัย จึงร่วมมือวิจัยพัฒนาสร้างเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มขึ้น โดยมุ่งเน้นให้สามารถช่วยรักษาคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตให้มากขึ้น โดยให้ความสำคัญในการนำเครื่องจักรมาพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ปัจจุบันเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั่วไป ส่วนใหญ่สั่งนำเข้ามาจากต่างประเทศ มีการสึกหรอเร็วและยังต้องสั่งเพิ่มเข้ามาจากต่างประเทศอยู่เสมอ พัฒนา ภายใต้ โครงการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่าประจำปีงบประมาณ 2553 พัฒนาโดย : สมาคมเครื่องจักรกลไทยเลขที่ 86/6 อาคารสำนักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนซอยตรีมิตร ถนนพระรามที่ 4 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ร่วมกับ : บริษัท ไบโอเอ็นเนอร์ยีเทค จำกัดเลขที่ 9 อาคารวรสิน ชั้น 6 ซอย ยาสูบ 2 ถนนวิภาวดีรังสิตแขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 เครื่องตัดทะลายปาล์มด้วยเครื่องติดรถราคาเริ่มต้นที่ 2,500,000 บาท/เครื่อง

  • smart farm เกษตรอัจฉริยะ,  อุปกรณ์ เทคโนโลยี เกษตร IoT

    เทคโนโลยี เกษตร เครื่องมือที่ใช้ในการตัดทะลายปาล์ม วางระบบ smart farm IoT เกษตรอินทรีย์ ออร์แกนิค organic

    เครื่องจักรเก็บเกี่ยวทะลายปาล์มและรถขนถ่ายทะลายปาล์ม ประกอบด้วย ปาล์มน้ำมันยังช่วยแก้ปัญหาราคาน้ำมันเชื้อเพลิงในตลาดโลก ที่มีการปรับราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันเป็นปัจจัยหนึ่งที่ผลักดันให้ทุกประเทศค้นคว้าหาพลังงานทดแทนจากพืช (BIO DIESEL) เพื่อมาทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิง (ปิโตรเลียม) ซึ่งมีคุณสมบัติและคุณภาพเทียบเท่าน้ำมันเชื้อเพลิงทุกประการ นอกจากนี้ในอนาคต BIO DIESEL จะมีราคาถูกกว่าน้ำมันเชื้อเพลิง ปาล์มน้ำมันเป็น พืชเศรษฐกิจ ที่ให้ผลประโยชน์ตอบแทนและเกิดวัตถุพลอยได้มากมาย และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้อีกมาก โดยสามารถแปรรูปได้ หลากหลายชนิด จึงมีการนำน้ำมันปาล์มไปใช้ทดแทนน้ำมันพืชชนิดอื่น ๆ ที่ใช้ทดแทนกันได้ ความต้องการใช้น้ำมันปาล์มจึงมีมากขึ้น ราคาน้ำมันปาล์มในตลาดโลกจึงมีแนวโน้มสูงขึ้น ซึ่งคาดว่าในปีต่อ ๆ ไปจะมีความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบในอัตราที่สูงขึ้นเป็นลำดับ จากแนวโน้มการขยายตัวของปาล์มน้ำมันทางคณะผู้วิจัย จึงร่วมมือวิจัยพัฒนาสร้างเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มขึ้น โดยมุ่งเน้นให้สามารถช่วยรักษาคุณภาพและเพิ่มปริมาณผลผลิตให้มากขึ้น โดยให้ความสำคัญในการนำเครื่องจักรมาพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต ปัจจุบันเครื่องเก็บเกี่ยวและขนถ่ายทะลายปาล์มที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มทั่วไป ส่วนใหญ่สั่งนำเข้ามาจากต่างประเทศ มีการสึกหรอเร็วและยังต้องสั่งเพิ่มเข้ามาจากต่างประเทศอยู่เสมอ ครื่องมือที่ใช้ในการตัดทะลายปาล์มจากต้นปาล์มเพิ่มความสะดวกในการจัดเก็บ เครื่องตัดทะลายปาล์มด้วยมือ• น้ำหนักเบาใช้งานสะดวก• ไม่อ่อนตัว• ใช้งานได้นาน• ความสูง 12 – 15 เมตร• น้ำหนักเครื่องมือ 5 – 7 กิโลกรัม• ตัดปาล์มได้ 60 ทะลาย/ชั่วโมง แขนกลสำหรับเก็บเกี่ยวทะลายปาล์มแบบใช้กับคน• น้ำหนักเบาใช้งานสะดวก• ไม่อ่อนตัว• ใช้งานได้นาน• ความสูง 3.6 เมตร• น้ำหนัก เครื่อง 10 กิโลกรัม• ตัดปาล์มได้ 60 ทะลาย/ชั่วโมง• ขนาดเครื่องยนต์ 2 แรงม้า พัฒนาโดย : สมาคมเครื่องจักรกลไทยเลขที่ 86/6 อาคารสำนักงานพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนซอยตรีมิตร ถนนพระรามที่ 4 เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 ร่วมกับ : บริษัท ไบโอเอ็นเนอร์ยีเทค จำกัดเลขที่ 9 อาคารวรสิน ชั้น 6 ซอย ยาสูบ 2 ถนนวิภาวดีรังสิตแขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ราคาขาย• เครื่องตัดทะลายปาล์มด้วยมือราคาเริ่มต้นที่ 50,000 บาท/เครื่อง