ขาย ต้นไม้ พันธุ์ ผลไม้,  ขาย ผลไม้,  ซื้อ ต้นไม้ พันธ์ุ ผลไม้,  ซื้อ ผลไม้,  รับซื้อ ต้นไม้ พันธุ์ ผลไม้,  รับซื้อ ผลไม้,  ราคา ต้นไม้ พันธุ์ ผลไม้,  ราคา ผลไม้,  ส่งออก ต้นไม้ พันธุ์ ผลไม้,  ส่งออก ผลไม้

ขาย รับ ซื้อ ส่งออก สละ ต้นไม้ พันธุ์ ผลผลิต ผลไม้ สละ

การส่งออก ผลไม้ สละ มาตรฐาน ตลาดกลาง กระทรวงเกษตร ผลผลิต การเกษตร สินค้าเกษตร

ชื่อ (ภาษาไทย) สละ
ชื่ออื่นๆ (ภาษาไทย) ซาเลา สละชะวา สลัก สะละ
ชื่อ (ภาษาอังกฤษ) Salak
ชื่อวิทยาศาสตร์ Salacca zalacca (Gaertn.)
มาตรฐานทั่วไป มกษ.22-2556
มาตรฐานบังคับ –
กลุ่มตาม มกษ. 9045-2559 FI 2585
ASEAN STANDARD ASEAN Stan 19 : 2010
ข้อมูลทั่วไป สละ มีลักษณะรูปทรงผลเป็นรูปทรงรียาว ผลอ่อนเป็นสีน้ําตาล ส่วนผลแก่เป็นสีแดงอมน้ําตาล เปลือกเป็นเกล็ดซ้อนกัน และบนผลมีขนแข็งสั้นคล้ายหนาม
วิธีการเลือกซื้อสละ ให้ได้คุณภาพดี คือ ให้สังเกตจากการแกะเปลือก โดยให้เปิดเปลือกจากก้นผลแล้ววนรอบ
ผล หากเปลือกปอกง่าย เหนียว ไม่ขาดเป็นชิ้นๆ แสดงว่ายังสด แต่หากเปลือกแข็งแกะแล้วเปลือกหักเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย แสดงว่าไม่สด แต่บางครั้งอาจจะมีรสหวานกว่าผลสด เพราะสละลืมต้นแล้ว
คำแนะนำหลังการเก็บเกี่ยว
สละ ควรเก็บเกี่ยวหลังจากดอกบานประมาณ 9 เดือน หลังเก็บเกี่ยวควรตัดแต่งผลที่ลีบและเน่าเสียออก ทําความสะอาดโดยใช้น้ําจืดคัดแยกคุณภาพ บรรจุลงเข่งหรือตะกร้าพลาสติกที่บุด้วยวัสดุป้องกันการชอกช้ําระหว่างขนส่ง เช่น ใบตอง กระดาษหนังสือพิมพ์ ควร
เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส ผลสละจะมีอายุการเก็บรักษาได้ 28 วัน เมื่อนําออกมาจากห้องเย็นยังมีอายุการวางจําหน่ายได้อีก 3 วัน โดยคุณภาพไม่เปลี่ยนแปลง
ขนาด/พันธุ์
 สละ – เบอร์ใหญ่ (1)/กลาง (2)/เล็ก (3)
 สละ – ช่อ/ยอด/รวม
 สละสุมาลี
บรรจุภัณฑ์
สําหรับขายส่งภายในประเทศ ถูกบรรจุใส่ตะกร้า หรือถุงพลาสติก หรือถุงตาข่าย
 บรรจุใส่ถุงพลาสติก น้ําหนัก 5-10 ก.ก.
 บรรจุใส่ตะกร้า น้ําหนัก 20-25 ก.ก.
สําหรับส่งออกต่างประเทศ ถูกบรรจุใส่กล่อง หรือถุงตาข่าย
 บรรจุใส่กล่อง น้ําหนัก 5-10 ก.ก.